การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต และโลจิสติกส์
การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต และโลจิสติกส์
วัตถุประสงค์ และเป้าหมายการพัฒนาประสิทธิภาพด้านโลจิสติกส์และการผลิต
การลดต้นทุนในการดำเนินการ ได้แก่ ค่าใช้จ่ายด้านพลังงาน ความสูญเสียต่างๆ ในกระบวนการผลิต ความสูญเปล่าด้านแรงงาน และความผิดพลาดในการบริหารธุรกิจ
การเพิ่มประสิทธิภาพของกระบวนการผลิต การเพิ่มประสิทธิภาพของแรงงาน การเพิ่มความสามารถด้านโลจิสติกส์
ปรับปรุงและเพิ่มศักยภาพด้านการบริหารจัดการ Logistics & Supply Chain
เป้าหมาย
ทราบต้นทุนการผลิตได้อย่างแม่นยำมากยิ่งขึ้น
มีมาตรฐานของแบบฟอร์มข้อมูลการทำงาน และมีดัชนีชี้วัดการทำงานได้มาตรฐานมากยิ่งขึ้น
สามารถกำหนด Lead Time ของการส่งสินค้าให้กับลูกค้าได้แม่นยำยิ่งขึ้น
ผลิตสินค้าได้ตามมาตรฐาน และตามปริมาณที่ลูกค้าต้องการมากยิ่งขึ้น
ขอบเขตและแนวทางการดำเนินงาน ทำการวิเคราะห์ความต้องการ การพัฒนาด้านการเพิ่มประสิทธิภาพการบริการ และการผลิต รวมทั้งการลดต้นทุนต่างๆ โดยใช้เทคนิค Productivity Improvement tools (เครื่องมือการปรับปรุงในการเพิ่มผลิตภาพเชิงบูรณาการ) แนวทางการดำเนินงาน
Lean-Kaizen ใช้เพื่อลดต้นทุนจากความสูญเปล่า
TPM – Total Productive Maintenance ใช้เพื่อลดความสูญเสียที่เครื่องจักร
TQM – Problem Solving techniques ใช้เพื่อลดความสูญเสียจากของเสียในกระบวนการผลิต (TQM – Total Quality Management )
เพื่อให้เกิดประสิทธิผล โดยการปรับใช้หรือผสมผสานแนวทางให้ได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด มิติการวัดประสิทธิภาพด้านโลจิสติกส์
การวัดผลการดำเนินงานด้านคุณภาพ (Quality) ของโลจิสติกส์
การวัดผลการดำเนินงานด้านเวลา(Time) ของโลจิสติกส์
การวัดผลการดำเนินงานด้านคุณภาพ (Quality) ของโลจิสติกส์
ลดต้นทุนการจัดการด้าน Logistcis
ต้นทุนการถือครองสินค้าคงคลัง (Inventory holding cost)
ต้นทุนการบริหารคลังสินค้า (Warehousing Management csot)
ต้นทุนการจัดการขนส่งสินค้า (Transportation cost)
ต้นทุนการขนส่งสินค้าเพื่อการส่งออก (Logistics Cost for Export)
การวัดผลการดำเนินงานด้านการผลิต (Productivity) และ การวัดผลด้านทรัพย์สิน (Asset Management) ของโลจิสติกส์
กลยุทธ์การพัฒนาประสิทธิภาพ Logistics
การวิเคราะห์กระบวนการด้าน Logistics
การกำหนดแผนงานด้านโลจิสติกส์
การพยากรณ์ความต้องการของลูกค้า แลแนวโน้มทางการตลาด
การวางแผน และการปรับแผนการทำงานด้านโลจิสติกส์
ระบบการจัดการ และการติดตามสถานะของสินค้า วัสดุคงคลัง และกิจกรรมด้านโลจิสติกส์ โดยระบบ Lean Manufacturing
การพัฒนาขั้นตอนการทำงานและกระบวนการทำงานที่เป็นมาตรฐาน
การพัฒนาหน่วยงานรับผิดชอบด้านโลจิสติกส์
หัวข้อการอบรม (Training Topics)
การผลิตแบบลีนและหลักการเบื้องต้น (Lean Manufacturing & Concept)
การบริหารจัดการเตรียมแบบทันเวลาพอดี (Just in time Management)
5S และ Kaizen Concept (หลัก 5ส และ ไคเซ็น)
การประเมินความสำเร็จด้านโลจิสติกส์ (Key Success & Evaluated Logistics)
เครื่องมือในการจัดเก็บการบริหารแบบลีน (Lean Tools)
โลจิสติกส์แบบลีน (Lean Logistics)
กลยุทธ์การจัดการบริหารแบบลีน และ PDCA (Lean & PDCA Management Strategy)
การนำ ERP มาใช้บริหารจัดการแบบลีน (Lean ERP)
ลีนกับการจัดการแบบซิก ซิกม่า (Lean Six Sigma)
การจัดการโลจิสติกส์แบบมีกลยุทธ์ (Logistics Strategy Management)
การจัดจ้างด้านโลจิสติกส์ (Logistics Outsourcing & Purchasing)
การนำเทคโนโลยีที่เหมาะสมมาใช้งานในด้านโลจิสติกส์ (IT Logistics)
การบริหารการขนส่ง (Transportation Management)
การบริหารการจัดซื้อ (Purchasing & Procurement Management)
การบริหารคลังสินค้า (Warehouse Management)
ความรู้โลจิสติกส์เบื้องต้น (Logistics Basic concept)
การบริหารจัดการโลจิสติกส์แบบบูรณาการ (Logistics Integrated Management)
การบริหารบรรจุภัณฑ์ (Packaging Management)
การบริหารอุปสงค์ และกิจกรรมของงานด้านโลจิสติกส์
หัวข้อหลักของการให้คำปรึกษา (Main Issues of Consulting)
การเพิ่มประสิทธิภาพด้านการจัดการสินค้าคงคลัง (Inventory Control) และรับประกันสินค้า (Quality Assurance)
การเพิ่มประสิทธิภาพด้านการจัดซื้อวัตถุดิบ (Purchasing), การจัดจ้าง (Outsourcing) แบบ JIT
การเพิ่มประสิทธิภาพด้านการผลิตผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
การบริหารคลังสินค้า (Warehouse Management) อย่างมีประสิทธิภาพ
การเพิ่มประสิทธิภาพด้านการบริการขนส่ง (Transportation), การขนส่งภายนอกโรงงาน (External Logistics) , การขนส่งภายในโรงงาน (Internal Logistics) (A Productivities of transportation and Logistics)
การบริหารจัดการควบคุมคุณภาพโดยรวม (Total Quality Management.. TQM)
การเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานด้วยการทำ Kaizen Techniques : 5S QCC Six Sigma
การบริหารการจัดการ (Vendor and Supplier Management)
การบริหารจัดการด้าน Information Technology (IT) , ระบบฐานข้อมูล (Database), ระบบการสร้างโปรแกรมใช้งาน (Application), ระบบสนับสนุนการตัดสินใจของผู้บริหารในทุกระดับ (Management Information System), การสร้างรายงานแบบ OLAP (Online Analytical Processing), ระบบ ERP (Enterprise Resource Planning ) , MRP, GIS, GPS ฯลฯ
การเพิ่มประสิทธิภาพด้านการลดต้นทุนด้านการผลิต (Cost Reduction) ลดเวลาในการผลิต (Manufacturing Lead Time) , ปรับสมดุลของกระบวนการผลิต (Line Balancing) , ลดของเสียในระหว่างการผลิต (Defect Reduction), เพิ่มกำลังการผลิตอย่างมีประสิทธิภาพ (Production Effectiveness)
การลดความสูญเปล่า (Waste) ในกระบวนการผลิต (Manufacturing) และการบริการ (Services) ด้วยวิธีแบบ Lean (Lean Management)