การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต และโลจิสติกส์
วัตถุประสงค์ และเป้าหมายการพัฒนาประสิทธิภาพด้านโลจิสติกส์และการผลิต
- การลดต้นทุนในการดำเนินการ ได้แก่ ค่าใช้จ่ายด้านพลังงาน ความสูญเสียต่างๆ ในกระบวนการผลิต ความสูญเปล่าด้านแรงงาน และความผิดพลาดในการบริหารธุรกิจ
- การเพิ่มประสิทธิภาพของกระบวนการผลิต การเพิ่มประสิทธิภาพของแรงงาน การเพิ่มความสามารถด้านโลจิสติกส์
- ปรับปรุงและเพิ่มศักยภาพด้านการบริหารจัดการ Logistics & Supply Chain
เป้าหมาย
- ทราบต้นทุนการผลิตได้อย่างแม่นยำมากยิ่งขึ้น
- มีมาตรฐานของแบบฟอร์มข้อมูลการทำงาน และมีดัชนีชี้วัดการทำงานได้มาตรฐานมากยิ่งขึ้น
- สามารถกำหนด Lead Time ของการส่งสินค้าให้กับลูกค้าได้แม่นยำยิ่งขึ้น
- ผลิตสินค้าได้ตามมาตรฐาน และตามปริมาณที่ลูกค้าต้องการมากยิ่งขึ้น
ขอบเขตและแนวทางการดำเนินงาน
ทำการวิเคราะห์ความต้องการ การพัฒนาด้านการเพิ่มประสิทธิภาพการบริการ และการผลิต รวมทั้งการลดต้นทุนต่างๆ โดยใช้เทคนิค Productivity Improvement tools (เครื่องมือการปรับปรุงในการเพิ่มผลิตภาพเชิงบูรณาการ)
แนวทางการดำเนินงาน
- Lean-Kaizen ใช้เพื่อลดต้นทุนจากความสูญเปล่า
- TPM – Total Productive Maintenance ใช้เพื่อลดความสูญเสียที่เครื่องจักร
- TQM – Problem Solving techniques ใช้เพื่อลดความสูญเสียจากของเสียในกระบวนการผลิต (TQM – Total Quality Management )
เพื่อให้เกิดประสิทธิผล โดยการปรับใช้หรือผสมผสานแนวทางให้ได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด
มิติการวัดประสิทธิภาพด้านโลจิสติกส์
- การวัดผลการดำเนินงานด้านคุณภาพ (Quality) ของโลจิสติกส์
- การวัดผลการดำเนินงานด้านเวลา(Time) ของโลจิสติกส์
- การวัดผลการดำเนินงานด้านคุณภาพ (Quality) ของโลจิสติกส์
ลดต้นทุนการจัดการด้าน Logistcis
- ต้นทุนการถือครองสินค้าคงคลัง (Inventory holding cost)
- ต้นทุนการบริหารคลังสินค้า (Warehousing Management csot)
- ต้นทุนการจัดการขนส่งสินค้า (Transportation cost)
- ต้นทุนการขนส่งสินค้าเพื่อการส่งออก (Logistics Cost for Export)
- การวัดผลการดำเนินงานด้านการผลิต (Productivity) และ การวัดผลด้านทรัพย์สิน (Asset Management) ของโลจิสติกส์
กลยุทธ์การพัฒนาประสิทธิภาพ Logistics
- การวิเคราะห์กระบวนการด้าน Logistics
- การกำหนดแผนงานด้านโลจิสติกส์
- การพยากรณ์ความต้องการของลูกค้า แลแนวโน้มทางการตลาด
- การวางแผน และการปรับแผนการทำงานด้านโลจิสติกส์
- ระบบการจัดการ และการติดตามสถานะของสินค้า วัสดุคงคลัง และกิจกรรมด้านโลจิสติกส์ โดยระบบ Lean Manufacturing
- การพัฒนาขั้นตอนการทำงานและกระบวนการทำงานที่เป็นมาตรฐาน
- การพัฒนาหน่วยงานรับผิดชอบด้านโลจิสติกส์
หัวข้อการอบรม (Training Topics)
- การผลิตแบบลีนและหลักการเบื้องต้น (Lean Manufacturing & Concept)
- การบริหารจัดการเตรียมแบบทันเวลาพอดี (Just in time Management)
- 5S และ Kaizen Concept (หลัก 5ส และ ไคเซ็น)
- การประเมินความสำเร็จด้านโลจิสติกส์ (Key Success & Evaluated Logistics)
- เครื่องมือในการจัดเก็บการบริหารแบบลีน (Lean Tools)
- โลจิสติกส์แบบลีน (Lean Logistics)
- กลยุทธ์การจัดการบริหารแบบลีน และ PDCA (Lean & PDCA Management Strategy)
- การนำ ERP มาใช้บริหารจัดการแบบลีน (Lean ERP)
- ลีนกับการจัดการแบบซิก ซิกม่า (Lean Six Sigma)
- การจัดการโลจิสติกส์แบบมีกลยุทธ์ (Logistics Strategy Management)
- การจัดจ้างด้านโลจิสติกส์ (Logistics Outsourcing & Purchasing)
- การนำเทคโนโลยีที่เหมาะสมมาใช้งานในด้านโลจิสติกส์ (IT Logistics)
- การบริหารการขนส่ง (Transportation Management)
- การบริหารการจัดซื้อ (Purchasing & Procurement Management)
- การบริหารคลังสินค้า (Warehouse Management)
- ความรู้โลจิสติกส์เบื้องต้น (Logistics Basic concept)
- การบริหารจัดการโลจิสติกส์แบบบูรณาการ (Logistics Integrated Management)
- การบริหารบรรจุภัณฑ์ (Packaging Management)
- การบริหารอุปสงค์ และกิจกรรมของงานด้านโลจิสติกส์
หัวข้อหลักของการให้คำปรึกษา (Main Issues of Consulting)
- การเพิ่มประสิทธิภาพด้านการจัดการสินค้าคงคลัง (Inventory Control) และรับประกันสินค้า (Quality Assurance)
- การเพิ่มประสิทธิภาพด้านการจัดซื้อวัตถุดิบ (Purchasing), การจัดจ้าง (Outsourcing) แบบ JIT
- การเพิ่มประสิทธิภาพด้านการผลิตผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
- การบริหารคลังสินค้า (Warehouse Management) อย่างมีประสิทธิภาพ
- การเพิ่มประสิทธิภาพด้านการบริการขนส่ง (Transportation), การขนส่งภายนอกโรงงาน (External Logistics) , การขนส่งภายในโรงงาน (Internal Logistics) (A Productivities of transportation and Logistics)
- การบริหารจัดการควบคุมคุณภาพโดยรวม (Total Quality Management.. TQM)
- การเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานด้วยการทำ Kaizen Techniques : 5S QCC Six Sigma
- การบริหารการจัดการ (Vendor and Supplier Management)
- การบริหารจัดการด้าน Information Technology (IT) , ระบบฐานข้อมูล (Database), ระบบการสร้างโปรแกรมใช้งาน (Application), ระบบสนับสนุนการตัดสินใจของผู้บริหารในทุกระดับ (Management Information System), การสร้างรายงานแบบ OLAP (Online Analytical Processing), ระบบ ERP (Enterprise Resource Planning ) , MRP, GIS, GPS ฯลฯ
- การเพิ่มประสิทธิภาพด้านการลดต้นทุนด้านการผลิต (Cost Reduction) ลดเวลาในการผลิต (Manufacturing Lead Time) , ปรับสมดุลของกระบวนการผลิต (Line Balancing) , ลดของเสียในระหว่างการผลิต (Defect Reduction), เพิ่มกำลังการผลิตอย่างมีประสิทธิภาพ (Production Effectiveness)
- การลดความสูญเปล่า (Waste) ในกระบวนการผลิต (Manufacturing) และการบริการ (Services) ด้วยวิธีแบบ Lean (Lean Management)